แจกสูตร เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ “AQUAMIMICRY” ลงทุนน้อย-กำไร 2 เท่าตัว แก้ปัญหา โรคกุ้ง ตายด่วน

โฆษณา
AP Chemical Thailand

เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ “AQUAMIMICRY” ลงทุนน้อย-กำไร 2 เท่าตัว แก้ปัญหา โรคกุ้ง ตายด่วน

การเลี้ยงกุ้งขาว แบบเลียนแบบธรรมชาติ

จากระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตกุ้งรายใหญ่ของโลก ด้วยประสบการณ์ใน การเลี้ยงที่ได้สั่งสมมาเป็นเวลายาวนาน ทำให้ เกิดเป็นเทคนิคการเลี้ยงและรูปแบบการจัดระบบการเลี้ยง ต่างๆ ออกมามากมาย โดยมีจุดประสงค์เดียวคือต้องการเพิ่มผลิต เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค ในตลาดโลก

แต่ด้วยการเลี้ยงที่มุ่งเพิ่มผลผลิตในอดีตที่ผ่านมาทำให้เกิดปัญหาด้านมลภาวะในธรรมชาติ อย่างมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ของสิ่งแวดล้อม และในฟาร์มของผู้เลี้ยงกุ้งเองนั้นได้รับเสียหาย จนเกิด โรคกุ้ง ตายด่วน และโรคกุ้ง อื่นๆในการเลี้ยงกุ้งขึ้นมาอย่างมากมาย ดังที่ปรากฏในวงการเลี้ยงกุ้งในอดีตตลอดมาจนถึงปัจจุบันนี้

ปรึกษาฟรี! โทร 081-693-0499 , 081-555-9091

หากบอกว่ามาจาก นิตยสาร สัตว์น้ำ หรือ พลังเกษตร.com

ก็ยังต้องแก้ไขระบบการเลี้ยงตามสถานการณ์ของการเกิดการตายจากโรคระบาดที่เกิดในกุ้งตลอดเวลา ซึ่งจากเหตุการณ์ที่ผ่านมาถึงปัจจุบันนี้สามารถสรุปได้ว่าระบบที่ดำเนินมาในรูปแบบเดิมนั้น ไม่สามารถ สร้างความยั่งยืนทางอาชีพให้ผู้ประกอบการและความปลอดภัยให้ต่อผู้บริโภคได้ดีเท่าที่ควร

โฆษณา
AP Chemical Thailand

โรค EMS ในกุ้งขาว

ดังนั้นวันนี้ จึงได้มีการการคิดค้นระบบการเลี้ยงรูปแบบใหม่ที่สามารถตอบโจทย์ด้านการลดผล เสียต่อสิ่งแวดล้อม และไม่ต้องประสบกับปัญหาด้านโรคระบาด อีกทั้งยังมีต้นทุนที่ต่ำตอบสนองต่อภาวะ เศรษฐกิจของกุ้งที่มีราคาตกต่ำลง เพื่อไม่ให้เป็นภาระของภาครัฐที่จะต้องออกมาช่วยเหลือเมื่อราคากุ้ง ต่ำลง เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ

ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้ยังช่วยให้เกษตรสามารถสร้างผลผลิตได้อย่างดีเช่นเดิม นั้นคือ ระบบการเลี้ยงกุ้ง รูปแบบ “AQUAMIMICRY” นั่นเอง


โดยจะมีเนื้อหาดังต่อไปนี้

  1. ทำความเข้าใจพื้นฐานระบบ การ เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ Aquamimicry
  2. ระบบไบโอไดนามิคซ์
  3. การจัดการบ่อในระบบเลียนแบบธรรมชาติ
  4. การเตรียมการหมัก
1.Aquamimicry-ระบบการเลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ
Aquamimicry-ระบบการ เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ

เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ ระบบ Aquamimicry คืออะไร??

เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ Aquamimicry คือ การเลี้ยงแบบเลียนแบบธรรมชาติ ที่ถูกคิดค้นขึ้นจากประสบการณ์ของ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งของไทย และได้เริ่มนำมาเผยแพร่ออกสู่สาธารณชน และวงการผู้เลี้ยงกุ้งทั่วโลกบ้างแล้ว โดยระบบนี้จะมุ่งเน้นไปที่การเลี้ยงโดยปลอดจากการใช้ยาและสารเคมีตั้งแต่เริ่มต้นการเลี้ยงจนสิ้นสุด 100%

แต่จะใช้เน้นไปที่การใช้อาหารธรรมชาติและจุลินทรีย์ กลุ่ม Basillus.sp ซึ่งสามารถนำไปใช้ใน การเลี้ยงในระบบที่มีความเค็ม 5-30 ppt โรคกุ้ง โรคกุ้ง โรคกุ้ง โรคกุ้ง โรคกุ้ง โรคกุ้งโรคกุ้ง โรคกุ้ง

จุดเด่นและข้อดีของ เลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ 

1.ไม่มีการนำของเสียเหลือใช้ในระบบการเลี้ยงในบ่อทิ้ง ทั้งภายในฟาร์มและภายนอกฟาร์ม แม้แต่น้อย แต่สำหรับระบบนี้แล้วของเสียเหล่านี้ถือว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเลี้ยงกุ้งเพราะสามารถ แปรเปลี่ยนเป็นห่วงโซ่อาหารธรรมชาติที่สามารถเกิดขึ้นเองได้อย่างครบถ้วนเหมือนสิ่งแวดล้อมใน ธรรมชาติตามที่กุ้งต้องการ

โฆษณา
AP Chemical Thailand

2.กุ้งที่ผลิตขึ้นจากฟาร์มที่ใช้ระบบนี้ จะสามารถส่งออกได้ราคาที่สูง กว่ากุ้งที่ถูกเลี้ยงจากระบบ การเลี้ยงแบบทั่วไป และต้นทุนก็มีความแตกต่างเช่นกันโดยกุ้งที่ใช้ระบบดังกล่าวจะมีต้นทุนเพียง 85-90 บาทต่อกิโลกรัม แต่ระบบการเลี้ยงทั่วไปจะอยู่ที่ 145 บาท/กิโลกรัม และหากเมื่อเปรียบกับการนำกุ้งของทั้งสองระบบไปขายในราคา 200 บาทเท่ากันจะพบว่ากำไรที่ได้ จากการเลี้ยงในระบบ Aquamimicry สูงกว่าระบบเดิมถึง 2 เท่า

3.เกษตรกรสามารถลงทุนได้ด้วยตัวเอง ระบบ Aquamimicry สามารถลงทุนได้โดยมีต้นทุน ที่ไม่สูงมาก ด้วยการใช้วัตถุดิบและจุลินทรีย์ที่ได้จากธรรมชาติ ที่ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี จึงทำให้ สามารถสร้างระบบการเลี้ยงได้โดยไม่ต้องลงทุนสูง อีกทั้งระบบดังกล่าวยังไม่ต้องกังวลในเรื่องของปัจจัย เสี่ยงต่างๆ ที่ต้องเจอเหมือนในระบบการเลี้ยงทั่วๆไป โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส 

4.สามารถนำกุ้งที่เลี้ยงในระบบ Aquamimicry ขึ้นมาเป็นพ่อแม่พันธุ์ที่มีประสิทธิภาพได้ จากการทดสอบด้วยการเลี้ยงกุ้งในระบบ Aquamimicry แบบเต็มระบบจากระยะกุ้งพี จนขึ้นมาเป็น พ่อแม่พันธุ์นั้น สามารถผลิตลูกพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์แข็งแรงได้และยังให้ผลผลิตเป็นลูกพันธุ์ที่ได้จาก ลูกพันธุ์มากไม่แตกต่างไปจากพ่อแม่พันธุ์ที่ได้จากธรรมชาติโดยได้ดำเนินการทดลองมาแล้วเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี โรคอีเอ็มเอส 

5.มีความยั่งยืนในการประกอบอาชีพเลี้ยงกุ้ง เพราะด้วยเป็นระบบที่ไม่มีความเสี่ยงและเป็นที่ยอมรับจากต่างประเทศ เพราะเมื่อได้นำระบบดังกล่าวนี้ไปใช้แล้วมีประสิทธิภาพสามารถผลิตกุ้งได้ โดยไม่ต้องเจอปัญหาเรื่องโรคระบาดและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ แต่กลับสามารถสร้างผลผลิตกุ้งได้ในปริมาณที่ต้องการเช่นเดิม

ทำให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในเรื่องของการพัฒนาเทคโนโลยี่การเลี้ยงกุ้ง โดยประเทศที่ได้นำระบบ Aquamimicry ไปใช้มีมากมายหลายประเทศ เช่น ประเทศเวียดนาม อินเดีย มาเลเซีย เม็กซิโก และประเทศเอควาดอร์ เป็นต้น

4.การจัดการบ่อในระบบ-Aquamimicry
การจัดการบ่อในระบบ-Aquamimicry ของ การเลี้ยงกุ้งขาว

การจัดการบ่อในระบบ Aquamimicry การเลี้ยงกุ้งขาว

  1. ฟื้นฟูชีวิตใหม่ในบ่อเก่า ในการเตรียมบ่อถ้า pH ดินอยู่ที่ 6 – 7 ควรใช้จุลินทรีย์ในการปรับปรุงบ่อ 160 กรัม/ไร่ โดยห้ามใช้สารเคมีและสารฆ่าจุลินทรีย์ทุกชนิด จากนั้นดันน้ำเข้าบ่อผ่าน ถุงกรองละเอียด ความลึกของน้ำในบ่อเฉลี่ย 80-100 ซม. เสริมกากชา 20 กก./ไร่ เพื่อกำจัดปลา อีกทั้งยัง เป็นแหล่งใยคาร์บอนที่ดี โดยระหว่างเตรียมจะต้องใช้เรือสำหรับลากโซ่ช่วยตลอดเวลาของการเตรียมบ่อ จะใช้เวลา 7 วัน เพื่อลดเมือกไบโอฟิล์มที่ติดอยู่หน้าดิน จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง
  2. เตรียมอาหารธรรมชาติ เสริมรำละเอียด (ไม่เอาข้าวเปลือก) 100 กก. /ไร่ เพื่อเร่งการบูมของ โคพีพอดและอาหารธรรมชาติ ตามด้วยจุลินทรีย์อีก 160 กรัม/ไร่ ตีน้ำเร่งขบวนการย่อยละลายให้เกิด สารละลายอินทรีย์ที่มีประโยชน์เพื่อการขยายพันธุ์ของโคพีพอดและลากโซ่ตลอดระยะเวลาเตรียมบ่อ เพื่อช่วยลดเมือกไบโอฟิล์มหน้าดิน จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง จุลินทรีย์กุ้ง 
  3. ก่อนลงกุ้ง สาดรำหมัก 5-10 กก. (สาดรำทุกวันจนกว่าจะได้ความขุ่นใสที่ 30-50 ซม.) ตรวจสอบความหนาแน่นของแพลงค์ตอนสัตว์ จุลชีพแขวนลอย ไดอะตอม โคพีพอด และหนอนแดง ตัดสินใจวันลงกุ้งตีน้ำต่อเนื่องจนกว่าค่าสารละลายออกซิเจนละลายในน้ำไม่ต่ำกว่า 5 ppm. ก่อนลงกุ้ง ค่า pH น้ำควรอยู่ที่ 7.5-8.5
  4. พร้อมลงกุ้ง ควรใช้กุ้งระยะ P 6-10 ที่แข็งแรง โดยหลีกเลี่ยงลูกกุ้งที่ใช้ยาปฎิชีวนะ จากนั้นทดสอบความแข็งแรง โดยปรับเปลี่ยนสภาพน้ำเลี้ยงให้จืดสนิทเป็นเวลา 1 ชม. ปรับค่า pH ความเค็มและ อุณหภูมิก่อนปล่อยลงสู่บ่อ และตรวจปริมาณโคพีพอด โรติเฟอร์ และหนอนแดง ว่ามีพอสำหรับลูกกุ้งหรือไม้
  5. หลังลงกุ้ง จะต้องเสริมด้วยรำหมัก 1-5 ppm. (1.6-8 กก./ไร่) ทุกวัน ขึ้นอยู่กับความขุ่น-ใส ของน้ำในบ่อ โดยจะต้องรักษาไว้ที่ระดับ 30 ซม. ตลอดการเลี้ยง หากทึบกว่า 20-30 ซม. ควรลดรำหมัก หากน้ำโปร่งกว่า 30-40 ซม. เสริมรำหมักและจุลินทรีย์อีก 25 กรัม/ไร่ เพื่อรักษาความขุ่น-ใส (จุลชีพแขวนลอย) ไม่น้อยกว่า 30 ซม. ตลอดเวลาการเลี้ยง วัดคุณภาพน้ำเช้าและบ่ายทุกวัน รักษาค่า pH รอบวันไม่ควรแกว่งเกิน 0.2 สูงสุด 0.3 แต้ม ในระหว่างเช้าและบ่ายในแต่ละรอบวัน หากควบคุมpH ให้แกว่งอยู่ในระดับที่ 0-0.1 แต้ม จะเหมาะสมที่สุด ส่วนระดับค่าออกซิเจนละลายในน้ำกลางคืนควรอยู่ ไม่ต่ำกว่า 5 ppm. ช่วงบ่ายกลางวันไม่ควรเกิน 10 ppm. เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 5-8 ppm. โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส โรคอีเอ็มเอส

ระหว่างเลี้ยงแบ่งเติมรำหมักเป็น 2 ช่วง (เช้า-บ่าย) ละลายรำหมักกับน้ำในบ่อมากๆ สาดให้ทั่วบ่อ และควรใช้จุลินทรีย์เสริมในช่วงกลางคืนอีก 25-50 กรัม/สัปดาห์ เพื่อช่วยลดการ หมักหมมของเลน โดยใช้ ในตอนกลางคืนระหว่างเปิดเครื่องตีน้ำและ ควรใช้มากๆในช่วงแพลงค์ตอนดร็อป

โฆษณา
AP Chemical Thailand

ในช่วงกลางวันใช้ จุลินทรีย์เสริมอีก 25-50 กรัม/สัปดาห์ จะช่วยเสริมตะกอนจุลชีพแขวนลอยในบ่อ ใช้ระหว่างเปิดเครื่องตีน้ำ หากพบว่าค่าออกซิเจนละลายในน้ำต่ำกว่าปกติให้ลดรำหมักทันที ตีน้ำเต็มที่ ลากโซ่ช่วยช้าๆ 15 วันแรก ลากในแนวที่ให้อาหาร ไม่ควรลากมากกว่า 20% ของพื้นที่บ่อ และควรเสริมด้วยจุลินทรีย์ก่อนลากโซ่ เพื่อจะช่วยเร่งการย่อยสลายอินทรีย์ได้เร็ว

5.การเตรียมการหมัก
การเตรียมการหมัก เพื่อ การเลี้ยงกุ้งขาว การเลี้ยงกุ้งขาว การเลี้ยงกุ้งขาว

เตรียมหมักรำเพื่อสร้างจุลชีพแขวนลอยและสร้างสมดุลระบบตลอดการเลี้ยง โรคอีเอ็มเอส จุลินทรีย์กุ้ง

  1. เตรียมหมักรำเพื่อสร้างจุลชีพแขวนลอยและสร้างสมดุลระบบตลอดการเลี้ยง จัดหาสถานที่ ถัง ระบบลมให้อากาศ เพื่อทำการหมัก คัดเลือกรำละเอียด และบดให้ละเอียดหรือกรองเอา แต่รำละเอียด น้ำ 10 ลิตร/รำละเอียด 1 กก. พร้อมจุลินทรีย์ 2 กรัม/รำละเอียด 1 กก. หากใช้น้ำจืดในการ หมัก ควรผสมเกลือ 1-3% (ขึ้นอยู่กับความเค็มของบ่อ) เปิดลมให้อากาศเต็มที่ อย่าให้รำตกตะกอนก้นถัง รักษาระดับ pH ของรำหมักให้อยู่ที่ 6-7 ตลอดเวลาการหมัก หากพบว่า pH มีค่าเป็นกรด ให้ใช้ปูนเปลือก หอยปรับ pH ให้ได้ 6-7 เลี่ยงการใช้รำหยาบในช่วงกุ้งเล็ก เพราะจะตกตะกอนเกิดเลนดำ ห้ามใช้รำหมัก ที่มีกลิ่นเปรี้ยวลงบ่อโดยเด็ดขาด

2.การเลี้ยงกุ้งแบบเลียนแบบธรรมชาติการเลี้ยงกุ้งขาว แบบเลียนแบบธรรมชาติ การเลี้ยงกุ้งขาว การเลี้ยงกุ้งขาว การเลี้ยงกุ้งขาว การเลี้ยงกุ้งขาว

ขอขอบคุณข้อมูล คุณ วีรสันต์ ประโยชน์อมรกุล

ปรึกษาฟรี! โทร 081-693-0499 , 081-555-9091

หากบอกว่ามาจาก นิตยสาร สัตว์น้ำ หรือ พลังเกษตร.com

การเลี้ยงกุ้งอิงธรรมชาติ การเลี้ยงกุ้งขาว โรคกุ้ง โรคอีเอ็มเอส จุลินทรีย์กุ้ง กุ้งขาวแวนนาไม โรคกุ้ง โรคกุ้ง โรคกุ้ง โรคกุ้ง

โฆษณา
AP Chemical Thailand