โรคไก่ รวมโรค&ไวรัสก่อ เนื้องอกในไก่ บทเรียนไก่จีนที่ไทยต้องศึกษา!

โฆษณา
AP Chemical Thailand

โรคไก่ รวมโรค&ไวรัสก่อ เนื้องอกในไก่ บทเรียนไก่จีนที่ไทยต้องศึกษา!

ขอขอบคุณข้อมูล อ.น สพ. ดร.วิษณุ วรรณแสวง ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร บริษัท จักรมาร์ติน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ๔๘๑ ซ.พัฒนาการ ๖๑ เขต ประเวศ กรุงเทฑ ๑๐๒๕๐

ดร-วิษณุ-วรรณแสง
ดร-วิษณุ-วรรณแสง

ยืนยันว่ามีรายงานการเกิดโรคเนื้องอกที่เกิดจากเชื้อไวรัสหลายชนิดร่วมกันอย่างซับซ้อน ตั้งแต่โรคมาเร็กซ์ (MDV) ร่วมกับโรคเรติคูโลเอนโดธีลิโอซิส (REV) โรค MDV ร่วมกับโรคโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในไก่ชนิดเจ (ALV-J) และ REV ร่วมกับ ALV-J ว่ากันเฉพาะตัวใหม่ สถานการณ์โรค REV ในประเทศจีน

ภาพ B เนื้องอกฮีแมงจิโอมาที่บริเวณข้อเท้าของไก่พันธุ์ มองเผินๆคล้ายเลือดออก เพราะก้อนเนื้องอกอุดมไปด้วยเซลล์เนื้องอกชนิดเซลล์บุหลอดเลือด (Lai et al, 2011)

เนื้องอกไก่ในจีน
โรคไก่ เนื้องอกไก่ในจีน

ภาพ E เนื้องอกฮีแมงจิโอมาที่ตับคล้ายเลือดออกเหมือนกัน อย่าชะล่าใจลองส่งตัวอย่างชิ้นเนื้อตรวจทางจุลพยาธิวิทยา อาจได้รับคำวินิจฉัยที่คาดไม่ถึง (Lai et al, 2011) โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่

ร่ายลิลิตพระลอ “เสียงลือเสียงเล่าอ้างอันใด พี่เอย เสียงย่อมยอโรคเนื้องอกไก่ไซร้ ทั่วหล้า สองเขือพี่หลับไหล ลืมตื่น พี่เอย” เสียงเล่าลือตำนานโรคเนื้องอกของไก่ในจีนผ่านมาถึงเมืองไทย บ้างอ้างว่าในไทยก็น่าจะเกิดโรคด้วยเช่นกัน ไขข้อเท็จจริงตามวารสารวิชาการตีพิมพ์หลายฉบับจากจีน โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่

ยืนยันว่ามีรายงานการเกิดโรคเนื้องอกที่เกิดจากเชื้อไวรัสหลายชนิดร่วมกันอย่างซับซ้อน ตั้งแต่โรคมาเร็กซ์ (MDV) ร่วมกับโรคเรติคูโลเอนโดธีลิโอซิส (REV) โรค MDV ร่วมกับโรคโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในไก่ชนิดเจ (ALV-J) และ REV ร่วมกับ ALV-J ว่ากันเฉพาะตัวใหม่ สถานการณ์โรค REV ในประเทศจีน มีการเฝ้าระวังโรคนี้อย่างต่อเนื่องมาตลอดนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 1999 เป็นต้นไปมา โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่

โฆษณา
AP Chemical Thailand

เวลานั้นนักวิจัยจีนอ้างว่าเป็นโรคที่พบได้บ่อยในไก่ในประเทศจีน จนถึงปี ค.ศ. 2013 ผลการสำรวจทางซีโรโลยียิ่งแสดงให้เห็นว่า โรค REV พบได้บ่อยมากในฟาร์มไก่พันธุ์ ร่วมกับนางเอกละครเก่าในโฉมหน้าใหม่ โรค ALV-J ที่เคยทำให้เกิดเนื้องอกชนิดไมอีลอยด์ ลิวโคซิส (Myeloid leukosis, ML) ได้ไมเนอร์เชนจ์กลายเป็นเนื้องอกชนิดฮีแมงจิโอมา (Hemangioma, HM)  แล้ว บทความนี้เป็นรายงานการเผชิญหน้ากับปัญหาโรคเนื้องอกไก่ในจีน และแนวทางการวินิจฉัย โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่

รคมาเร็กซ์ โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในไก่ โรคเรติคูโลเอนโดธีลิโอซิส วัคซีนไก่ ฝีดาษไก่ โรคของไก่  โรคไก่

โรคเนื้องอกที่สำคัญในไก่ ได้แก่ โรคมาเร็กซ์ (Marek’s disease virus, MDV) โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในไก่ (Avian leukosis virus, ALV) และโรคเรติคูโลเอนโดธีลิโอซิส (Reticuloendotheliosis virus, REV) โรคเหล่านี้เหนี่ยวนำให้เกิดโรคได้แตกต่างกัน โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่

ตั้งแต่ไม่แสดงอาการไปจนถึงแคระแกรน การกดภูมิคุ้มกัน และเนื้องอก (Weihua et al., 2013) การติดเชื้อเนื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกชนิดหนึ่งจะซ้ำเติมให้ไก่ที่ติดเชื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกอีกชนิดหนึ่งให้รุนแรงยิ่งขึ้นไปอีก เชื้อไวรัส MDV และเชื้อไวรัสกลุ่มรีโทรไวรัสมากกว่าหนึ่งชนิด โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่ โรคไก่

สามารถติดเชื้อได้ในไก่ฟาร์มเดียวกัน ไก่ตัวเดียวกัน และแม้กระทั่งเซลล์เดียวกัน อีกด้วย (Diao et al., 2008) ผู้เลี้ยงไก่ในประเทศไทย ทั้งไก่เนื้อ และไก่ไข่ ล้วนเคยประสบปัญหาโรคเนื้องอกเหล่านี้มาแล้ว แต่เราจะคุ้นเคยกับโรค MDV มากกว่า โดยทั่วไปกลุ่มอาการที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกเหล่านี้จะคล้ายคลึงกันมาก และมีรอยโรคจำเพาะต่อโรคค่อนข้างน้อย ดังนั้นการวินิจฉัยโรคทั่วไป โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ 

โดยอาศัยอาการทางคลินิกจึงไม่เพียงพอต่อการสรุปผลการวิเคราะห์ได้ นั่นเป็นเหตุผลสำคัญที่เชื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อการผลิตสัตว์ปีกตลอดมา ในประเทศจีน มีรายงานการเกิดโรคเนื้องอกที่เกิดจากเชื้อไวรัสหลายชนิดร่วมกันอย่างซับซ้อน โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่

ตั้งแต่โรค REV ร่วมกับเชื้อไวรัสก่อโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเจ (ALV-J) โรค MDV ร่วมกับ REV (Diao et al., 2008) และโรค MDV ร่วมกับ ALV-J (Dong et al., 2014) โรค MDV เป็นโรคเนื้องอกของไก่ที่พบได้บ่อยที่สุดใครๆก็รู้จัก จะไม่กล่าวถึงมาก ขอเน้นเชื้อไวรัสที่ REV และ ALV-J ทั้งสองตัวพี่น้องเป็นสมาชิกของแฟมิลีรีโทรวิริดี โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่ โรคของไก่

โฆษณา
AP Chemical Thailand

โรค REV เชื้อไวรัสที่ไม่มีใครอยากเอ่ยชื่อ

เชื้อไวรัส REV จัดว่าเป็นเชื้อก่อโรคกดภูมิคุ้มกันที่สำคัญที่สุดชนิดหนึ่ง โดยกดภูมิคุ้มกันที่เหนี่ยวนำโดยวัคซีน MDV และการให้วัคซีนนิวคาสเซิล (Newcastle disease virus, NDV) หรือการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันในกระแสเลือดต่อเชื้อแบคทีเรีย ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่

เชื้อไวรัสชนิดนี้มักแยกพบเชื้อได้จากฟาร์มที่เกิดโรคต่างๆกัน เช่น เนื้องอก อัตราการเจริญเติบโตช้าลง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มตับอักเสบ และการติดเชื้อร่วมกับโรคติดเชื้อไวรัสอื่นๆ เช่น โรค MDV โรค ALV-J และโรคเลือดจางในไก่ เป็นต้น สิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างมากที่สุดคือ สาเหตุสำคัญเกิดจากการปนเปื้อนเชื้อไวรัส REV

ในวัคซีนเชื้อเป็นบางชนิด เช่น วัคซีนฝีดาษไก่ และวัคซีน MDV และสิ่งที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือ ผลการศึกษามากขึ้นพิสูจน์ว่าจีโนมของเชื้อไวรัส REV สามารถรวมเข้ากับจีโนมของเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆได้ด้วย โดยมีรายงานการตรวจพบท่อนยีนส์ของเชื้อไวรัส REV รวมเข้ากับจีโนมของเชื้อไวรัส MDV และเชื้อไวรัส REV กับเชื้อไวรัสฝีดาษไก่

การติดเชื้อร่วมกันระหว่างเชื้อไวรัสก่อโรค MDV และ REV ในตัวอย่างก้อนเนื้องอกจากโรค MDV และตัวอย่างเชื้อไวรัสที่เกิดการรีคอมบิเนชันระหว่างเชื้อไวรัส MDV ในพื้นที่ และจีโนมบางส่วนของเชื้อไวรัส REV  โดยปรากฏการณ์การรีคอมบิเนชันของเชื้อไวรัส REV กับเชื้อไวรัสอื่นๆทำให้การตรวจหาเชื้อไวรัสก่อโรคโดยเทคนิคทางอณูชีววิทยาค่อนข้างยาก ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ 

ในประเทศจีน รายงานการสำรวจทางซีโรโลยีในช่วงปี ค.ศ. 2006 พบว่าการติดเชื้อไวรัส REV พบได้บ่อยมากในฟาร์มไก่ โดยเชื่อมโยงกับการแพร่กระจายผ่านวัคซีนที่มีการปนเปื้อน เร็วๆนี้สถานการณ์โรค REV ในประเทศจีนเมื่อปี ค.ศ. 2013 ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ ฝีดาษไก่ 

จากฟาร์มไก่พันธุ์เกือบครึ่งประเทศ สามารถบ่งชี้ว่า เชื้อไวรัส REV พบได้บ่อยมากในฟาร์มไก่พันธุ์ของจีนโดยอัตราการให้แอนติบอดีเป็นผลบวกสูงถึง 47 เปอร์เซ็นต์สอดคล้องกับประวัติการเลี้ยง ฟาร์มที่มีแอนติบอดีเป็นบวกสูงก็มักประสบปัญหาเนื้องอกอย่างรุนแรง วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่

โฆษณา
AP Chemical Thailand

การศึกษาก่อนหน้านี้ แสดงให้เห็นว่า การติดเชื้อไวรัสตั้งแต่ระยะแรกเป็นสาเหตุให้ไก่โตช้า และยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดนก ปัจจุบันการติดเชื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกหลายชนิดพร้อมกัน พบได้บ่อยในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีก วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่

มีรายงานการปนเปื้อนวัคซีน MDV ด้วยเชื้อไวรัส REV จนทำให้เกิดความเสียหายสูง (Diao et al, 2008) นักวิจัยออสเตรเลียและอเมริกา รายงานว่าวัคซีนฝีดาษไก่บางชนิด และเชื้อไวรัสฝีดาษไก่ในพื้นที่ ประกอบด้วย จีโนมของเชื้อไวรัส REV และสามารถพัฒนาเป็นอนุภาคเชื้อไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ บ่งชี้ว่าเชื้อไวรัส REV มีวิธีพิเศษแบบแขก VIP สำหรับการถ่ายทอดเชื้อได้โดยอาศัยเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆได้ด้วย วัคซีน

ไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่โทร 02-722-1071

Ad-บ.อัลฟ่าเวท
Ad-บ.อัลฟ่าเวท

โรค ALV-J เชื้อไวรัสผู้เปลี่ยนโฉมหน้าใหม่

เชื้อไวรัส  ALV-J พบเป็นครั้งแรกในไก่สายพันธุ์เนื้อในสหราชอาณาจักรเมื่อปี ค.ศ. 1989 โดยอดีตนักวิจัยชาวอังกฤษนามว่า Laurence Payne (คนในวงการสัตว์ปีกเรียกว่า จิม) ระยะแรกใครๆที่ยังไม่เป็นโรคดีเมนเชีย คงจำกันได้ดีว่าเป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็งชนิดไมอีลอยด์ ลิวโคซิส (Myeloid leukosis, ML) ในไก่พันธุ์เนื้อ และพันธุ์ไข่

เนื้องอก ML มีลักษณะสำคัญคือ ก้อนเนื้อสีเทาขาวบนผนังด้านในของกระดูกหน้าอก ตับ และม้ามโต ในบางครั้ง อาจพบก้อนเนื้องอกได้ตามหัว (Malkinson et al, 2004) ตั้งแต่ทศวรรษช่วง ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา โรค ALV-J สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมากในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ทั่วโลก วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ 

นอกเหนือจากการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูกแล้ว เชื้อไวรัสชนิดนี้ยังสามารถถ่ายทอดได้ทางแนวระนาบอย่างง่ายดาย และกดการเจริญเติบโตของไก่เนื้อที่เลี้ยงเชิงพาณิชย์ ภาวะกดภูมิคุ้มกันจากการติดเชื้อไวรัส ALV-J เป็นสาเหตุของความเสียหายในฟาร์ม แต่แล้วปี ค.ศ. 2006 เป็นต้นมา วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่

โฆษณา
AP Chemical Thailand

โฉมหน้าของโรคได้เปลี่ยนแปลงไป เมื่อในประเทศจีนพบการแปลงโฉมของเนื้องอกจากเชื้อไวรัส ALV-J กลายเป็นเนื้องอกชนิดฮีแมงจิโอมา (Hemangioma, HM) (Lai et al., 2011) นั่นคือหากเนื้องอกชนิดนี้จะกลับมาเที่ยวประเทศไทยอีกครั้ง ก็อาจไม่ได้เป็น ML อีกแล้ว วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ วัคซีนไก่

แต่อาจกลายเป็น HM การจำแนกก็ต้องอาศัยพยาธิสัตวแพทย์ตรวจตัวอย่างชิ้นเนื้อได้ไม่ยากนัก เนื่องจาก เซลล์เนื้องอกของ ML เป็นเซลล์ตั้งต้นของเม็ดเลือด ขณะที่ HM เป็นเนื้องอกของหลอดเลือดจากการเจริญเติบโตอย่างผิดปรกติของเซลล์บุหลอดเลือดจากเส้นเลือดฝอย

การจำลองสถานการณ์การถ่ายทอดโรคจากแม่สู่ลูกโดยการป้อนเชื้อไวรัส ALV-J ผ่านถุงน้ำคร่ำในตัวอ่อนลูกไก่ที่อายุ 11 วัน พบว่าเริ่มสังเกตเห็นรอยโรคเนื้องอกที่ผิวหนังชนิดฮีแมงจิโอมา และตายได้ระหว่างอายุ 10-13 สัปดาห์ โดยมีอุบัติการณ์พบรอยโรคฮีแมงจิโอมาได้ถึง 56 เปอร์เซ็นต์ และอัตราการตาย 16 เปอร์เซ็นต์

รวมพลังไวรัสก่อโรคเนื้องอก

ตามปรกติ การติดเชื้อไวรัส REV และ ALV-J อย่างใดอย่างหนึ่ง มักไม่ปรากฏอาการให้เห็นมากนัก ไก่มีการเจริญเติบโตช้าลง และกดภูมิคุ้มกันก็เท่านั้นเองจนผู้ผลิตส่วนใหญ่ก็ละเลยไม่ได้ให้ความสนใจ จนกระทั่งไก่เริ่มแสดงอาการเนื่องจากการติดเชื้อร่วมกันของเชื้อไวรัสทั้งสองชนิดก็จะสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ไก่ไม่โต และตาย

รวมถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันภายหลังการให้วัคซีนเลวร้ายลงไป (Dong et al., 2014) รายงานการวิจัยที่บ่งชี้ถึง การติดเชื้อร่วมกันของเชื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 เป็นต้นมา หลังจากนั้นสองทศวรรษจึงมีงานวิจัยจำนวนมากตีพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่ออุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีก เกิดภาวะกดภูมิคุ้มกัน การเจริญเติบโตลดลง และเกิดเนื้องอกในสัตว์ปีกที่ติดเชื้อ ฟาร์มไก่พันธุ์บางแห่ง นำไก่คนละสายพันธุ์เข้ามาเลี้ยงในโรงฟักเดียวกัน โครงสร้างของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีกพันธุ์ที่มีการปะปนกันเช่นนี้ทำให้การควบคุมโรคยาก โดยเฉพาะกรณีการติดเชื้อที่มีการถ่ายทอดกันจากแม่สู่ลูก

โฆษณา
AP Chemical Thailand

เทคนิควินิจฉัยโรค

สำหรับโรค MDV และ ALV-J วินิจฉัยได้ไม่ยากนัก เพราะคุ้นเคยกันดี แต่ REV ก็ยากสักหน่อย กรณีตัวอย่างในประเทศจีน การสำรวจโรค REV เริ่มจากการทดสอบทางซีโรโลยี เพื่อศึกษาสถานการณ์ในฟาร์ม การทดสอบทางซีโรโลยีโดยว่ากันว่า เป็นการสำรวจทางซีโรโลยีครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศจีน (Li et al., 2013) วิธีนี้ก็นับว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี

การผ่าซากวินิจฉัยโรค

สำหรับโรค MDV และ REV รอยโรคใกล้เคียงกันมาก สำหรับ ALV-J จากเนื้องอกชนิด ML ก็ไม่ยากนัก แต่ให้ระวังสับสนกับก้อนแกรนูโลมาจากเชื้อราเท่านั้น บทความนี้เน้นเฉพาะรอยโรคใหม่ เป็นโรค ALV-J ที่ก่อโรคเนื้องอกที่ผิวหนังชนิดฮีแมงจิโอมา (HM)

สังเกตพบตุ่มกลมที่มีเลือดออกสีแดง หรืออมม่วง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มิลลิเมตรถึง 1 เซนติเมตร มักเกิดเป็นแผลหลุม และเลือดออกผิวหนังเป็นอวัยวะที่เกิดรอยโรคได้บ่อยที่สุด รองลงมาคือ ตับ กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเรียบที่กระเพาะ ตับอ่อน เนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง ตามลำดับ รอยโรคอาจใหญ่ถึง 3 เซนติเมตรในตับ ลักษณะจุลพยาธิวิทยา

สังเกตเห็นลิ่มเลือดขนาดใหญ่จากเนื้องอกที่ฝ่อลง เนื่องจากภาวะเลือดออกอย่างมาก  ส่วนใหญ่แล้วเนื้องอกชนิด HM จะไม่ค่อยลุกลาม ส่วนใหญ่อยู่ที่ผิวหนัง หากเป็นเนื้อร้ายของหลอดเลือดก็จะเกาะยึดกันแน่น และสร้างเป็นเครือข่ายที่อัดกันแน่นของเส้นเลือด

อย่างไรก็ตามบางครั้งเนื้องอก HM อาจมีลักษณะเจริญเติบโตลุกลามเป็นโพรงหลอดเลือดที่เกิดเป็นมะเร็งแทรกชอนเข้าไปในเนื้อเยื่อข้างเคียง รวมถึงเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง และกล้ามเนื้อ การเจริญเติบโตอย่างก้าวร้าวเช่นนี้พบได้ในเนื้องอกฮีแมงจิโอมาในตับ (Hepatic hemangioma) โดยเซลล์เนื้องอกฮีแมงจิโอมาเป็นเซลล์บุหลอดเลือด

การทดสอบทางซีโรโลยี

สำหรับโรค MDV และ ALV-J คุ้นเคยกันอยู่แล้วไม่ขอกล่าวถึง เน้นเฉพาะโรค RE ปัจจุบัน มีชุดทดสอบสำเร็จรูปสำหรับโรค REV โดยอาศัยเทคนิคอีไลซา ในประเทศไทย ชุดทดสอบที่สามารถซื้อหาได้ง่าย ได้แก่ บริษัท ไอเด็กซ์ (IDEXX REV Ab Test)  และบริษัท ไบโอเช็ค (BioChek Reticuloendotheliosis Virus Antibody test kit)

โฆษณา
AP Chemical Thailand

เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่มีการจำหน่ายเชิงพาณิชย์ในการควบคุมเชื้อไวรัส REV การสำรวจโรคโดยอาศัยการทดสอบทางซีโรโลยีจึงเป็นเครื่องมือที่สามารถบ่งชี้สถานการณ์ของโรคได้เป็นอย่างดีมาก กรณีศึกษาในประเทศจีนใช้ชุดทดสอบอีไลซาของบริษัทไอเด็กซ์

อย่างไรก็ตาม มีรายงานว่า ฟาร์มปู่ย่าพันธุ์หลายฟาร์มมีผลการทดสอบแอนติบอดีเป็นลบ แต่ฟาร์มไก่พันธุ์มีการติดเชื้อไวรัส REV เนื่องจาก การติดเชื้อในไก่ปู่ย่าพันธุ์เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะไม่ตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส (Immune tolerance) ในรุ่นลูก

การตรวจสอบเชื้อไวรัสก่อโรค

การตรวจสอบเชื้อไวรัสก่อโรค ในการวินิจฉัยโรค MDV, ALV-J และ REV ของห้องปฏิบัติการจีน มีทั้งใช้เทคนิค IFA, RT-PCR และ Dot-blot hybridization (Dong et al., 2014)

  1. การแยกเชื้อไวรัส นิยมใช้เซลล์ไลน์ชนิด Chicken embryo fibroblast cell line (DF-1 cells) โดยนำตัวอย่างก้อนเนื้องอกบดให้ละเอียดแล้วย่อยเซลล์ให้แตกโดยการแช่แข็ง และละลาย 3 ครั้ง ก่อนปั่นแยกตกตะกอนเซลล์ แล้วกรองนำมาเลี้ยงในเซลล์ไลน์ดังกล่าว เซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส ALV-J จะไม่พบการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ หรือซีพีอี (Cytopathic effect, CPE) จึงสามารถจำแนกจากเชื้อไวรัส ALV สับกรุ๊ป B, C หรือ D
  2. การทดสอบพีซีอาร์ นิยมใช้กันทั่วไปในห้องปฏิบัติการวินิจฉัยโรค ไพร์เมอร์ที่ให้ไว้ในตารางที่ 1 มาจากรายงานวิจัยที่มีการสำรวจโรคในประเทศจีน ความจริงแล้ว การทดสอบพีซีอาร์เป็นวิธีการที่สะดวก และง่ายสำหรับการทดสอบโรคเบื้องต้น แต่การวินิจฉัยโรคจำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือการทดสอบทางห้องปฏิบัติการร่วมกันหลายวิธี หากใช้ฟันธงอาจเป็นเหตุให้ทะเลาะกันได้

ตารางที่ 1 ไพร์เมอร์สำหรับการตรวจสอบเชื้อไวรัสก่อโรคเนื้องอกในไก่ (Lai et al., 2011)

เชื้อไวรัส ไพร์เมอร์ ลำดับนิวคลีโอไทด์ ขนาดของผลิตภัณฑ์
REV F: REV-F

R: REV-R

CAT ACT GGA GCC AAT GGT T

AAT GTT GTA GCG AAG TAC T

300 bp
MDV F: MD1

R: MD2

GCC TTT TAT ACA CAA GAG CCG AG

TTT ATC GCG GTT GTG GGT CAT G

560 bp
ALV-J F: H5

R: H7

GGA TGA GGT GAC TAA GAA AG

CGA ACC AAA GGT AAC ACA CG

545 bp

บทสรุป

บทเรียนโรคเนื้องอกในไก่ในจีนเป็นอุทาหรณ์ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการวินิจฉัยโรคให้ทันต่อเหตุการณ์ ตั้งแต่การเฝ้าระวังโรคจากการวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตว่า อัตราการเจริญเติบโตลดลง การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันไม่ดี การตรวจเลือดด้วย ELISA บ้าง

โฆษณา
AP Chemical Thailand

การเก็บตัวอย่างวัคซีนบางชนิดเพื่อป้องกันการปนเปื้อนเชื้อไวรัสที่มาจากวัคซีน เมื่อเกิดปัญหาเนื้องอกในฟาร์ม ควรมีการวินิจฉัยยืนยันโรคว่า ปัญหาเนื้องอกที่พบในฟาร์มมีสาเหตุจากเชื้อไวรัสชนิดใดกันแน่ เพื่อวางแผนการควบคุมมิให้เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรมการผลิตไก่ในประเทศ เทคนิคการวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ

พบว่าหากลูกไก่ติดเชื้อตั้งแต่แรกเกิด อิมมูโนฮิสโตเคมี สามารถตรวจสอบได้ภายหลังการติดเชื้อ 2 สัปดาห์ จุลพยาธิวิทยาก็ต้องรอนิดนึงสัก 4 สัปดาห์โดยสังเกตการเพิ่มจำนวนลิมโฟไซต์ตามอวัยวะสำคัญได้ต้งแต่ 1 สัปดาห์ วิธีการวินิจฉัยโรคเนื้องอกนี้ให้ผลถูกต้องที่สุดสำหรับการวิเคราะห์ปัญหาโรคเนื้องอก

ขอขอบคุณข้อมูล อ.น สพ. ดร.วิษณุ วันแสง ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ เขตหนองจอก กรุงเทพ 10530

โทร 02-349-6531

 

Ad-Big-Dutchman
Ad-Big-Dutchman

เอกสารอ้างอิง

Diao et al. 2008. Dynamic pathology and antigen location study on broiler breeders with coinfection of Marek’s disease virus and reticuloendotheliosis virus. Agric Sci China. 7(11): 1387-1393.

โฆษณา
AP Chemical Thailand

Dong et al. 2014. Synergetic effects of subgroup J avian leukosis virus &reticuloendotheliosis virus co-infection on growth retardation &immunosuppression in SPF chickens. Vet Microbiol. 172: 425-431.

Lai et al., 2011. Isolation and characterization of emerging subgroup J avian leukosis virus associated with hemangioma in egg-type chickens. Vet Microbiol. 151: 275-283.

Li et al. 2013. Investigation of the reticuloendothelisosis virus infection in large-scale breeder chicken farms of China by serological survey. J Anim Vet Adv. 12(6): 736-739.

Malkinson et al. 2004. Comparison of serological and virological findings from subgroup J avian leukosis virus-infected neoplastic and non-neoplastic flocks in Israel. Avian Pathology. 33(3): 281-287.

โรคไก่ โรคของไก่ ฝีดาษไก่ โรคของไก่ไข่  วัคซีนไก่

การเลี้ยงไก่เนื้อ ไก่ข้อบวม ไก่ขี้ขาว การให้วัคซีนไก่ วัคซีนไก่ ฝีดาษไก่ โรคฝีดาษไก่ ยารักษาไก่ป่วย

โฆษณา
AP Chemical Thailand