[adverts_list posts_per_page="10"]
เพิ่มเพื่อน

เมืองไม้ผล

หลวงพี่อุเทน ปราชญ์เกษตรระดับชาติ ผลงานระดับโลก

ปุถุชนธรรมดาถือกำเนิดจากครอบครัวธรรมดาๆ ในอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม พระอุเทน  สิริสาโร ชื่อเดิม อุเทน นโรตมางกูล  หรือที่ญาติโยม เรียก “หลวงพี่อุเทน” จนติดปาก ก่อนมาถึงวันนี้ได้นั้นหลวงพี่อุเทนเป็นคนธรรมดาที่ฐานะทางบ้านยากจน ทำให้การดำเนินชีวิตในวัยเด็กเต็มไปด้วยความลำบาก เมื่อ อายุ 20 ย่าง 21 ปี ผู้เป็นมารดาป่วยหนักด้วยโรคมะเร็งในสมอง ญาติๆ จึงแนะให้บวชที่วัดท่ากระบือ กระทั่งสอบได้นักธรรมชั้นเอก และได้มาอยู่ที่วัดท่าไม้...

ผักเศรษฐกิจ & พืชสุขภาพ

ชาวโคกกะเทียม ลพบุรี ใช้ปุ๋ยอินทรีย์โวก้า เร่งผลผลิตข้าวโพด 2,800-3,000 กก./ไร่

ต้องยอมรับว่า ตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ ระหว่าง รัสเซีย  ยูเครน ทำให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะข้าวโพดแป้ง และข้าวโพดช็อป ที่ถูกนำมาใช้กับการผลิตอาหารสัตว์มากขึ้น แม้กระทั่งข้าวโพดหวาน และข้าวโพดแอ้ ที่เป็นอาหารมนุษย์ ซึ่งก็มีความต้องการมากขึ้น แต่การปลูกพืชอายุสั้น อย่าง ข้าวโพด นั้น ยังมีต้นทุนสูง และผลผลิตต่อไร่ยังไม่ได้ตามเป้า อีกทั้งการปลูกข้าวโพดในพื้นที่เดิมซ้ำๆ เป็นเวลานาน ทำให้ดินแย่ลง หากขาดการปรับปรุงบำรุงดินที่เหมาะสม การผลิตปุ๋ยโวก้าอินทรีย์ บริษัท เกษตรนำโชค จำกัด...

สัตว์บก

ช่างสำเริง เซียนผลิตเครื่องสับย่อย พืชอาหารสัตว์ระดับชาติ

เมื่อ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ของประเทศเติบโตขึ้น อันเป็นผลมาจากธุรกิจปศุสัตว์ที่บูมมาตลอด แน่นอนพืชอาหารสัตว์ก็เริ่มมี “ราคา” ตามหลัก ดีมานด์ ซัพพลาย ล่าสุด “ต้นและเปลือกข้าวโพดสด” กลายเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องหลายชนิด ประกอบกับ ข้าวโพด เป็นพืชอาหาร และพืชพลังงาน ปลูกได้ปีละ 3 รุ่น เม็ดเงินหมุนได้ไวกว่าพืชหลายชนิด การผลิตเครื่องสับย่อย ดังนั้นชาวไร่หลายจังหวัดที่ปลูกข้าวโพดหวาน ข้าวโพดแป้ง และ ข้าวโพดแอ้ ได้รับอานิสงส์ทางธุรกิจโดยตรง ส่งผลให้ผู้ผลิตเครื่องสับย่อยพืชอาหารสัตว์...

สัตว์นำ้

กำนันสำเริง เซียนบริหารต้นทุน จับมือ CPF เลี้ยง “กุ้งขาว” 85 วัน ไซซ์ 38 ตัว/กก.

ณ ตำบลตลาดจินดา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม แหล่งผลิตไม้ผลชื่อดังของจังหวัด เพราะดินเหมาะแก่การปลูกพืชเศรษฐกิจ การเพาะเลี้ยงกุ้งขาว แต่ก็มีคนนำที่ดินไปเลี้ยงกุ้งทะเล ตั้งแต่ปี 2535 ที่รู้จักกันในนาม กำนันสำเริง ช้อยจินดา พัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำจนมีชื่อเสียง วันนี้กลายเป็นนักเลี้ยง “กุ้งขาว” มืออาชีพ ทั้งๆ ที่สภาพแวดล้อมไม่เอื้อต่อการเลี้ยงกุ้ง เนื่องจากน้ำในคลองปนเปื้อนด้วยสารพิษต่างๆ ด้วยความวิริยะ อุตสาหะ ของกำนันสำเริง ในการเรียนรู้การเลี้ยงกุ้งให้รอด ได้ไซซ์ที่ตลาดต้องการ ปรากฏว่าประสบความสำเร็จมาตลอดกว่า 30...

ยางเศรษฐกิจ

ปุ๋ยโฟแมน (4MAN) ปุ๋ยของคนไทย คุณภาพเต็มแม็กซ์

ต้องยอมรับความจริงว่า ประเทศไทยมีศักยภาพการแข่งขันพืชเศรษฐกิจในตลาดโลกน้อยกว่าหลายประเทศ เหตุเพราะต้นทุนการผลิตพืชสูงขึ้น และ “ผลผลิต” ไม่คุ้มต่อการลงทุน ซึ่ง 1 ในสาเหตุ คือ ความไม่รู้เรื่อง ดินและปุ๋ย ที่ถูกต้องของเกษตรกร ก่อให้เกิดการใช้ปุ๋ยผิด เกิดผลเสียมากมาย ด้วยเหตุนี้ ภาคเอกชน อย่าง บริษัท แม็กซ์นิค จำกัด ได้ผลิตปุ๋ยคุณภาพสูง แบรนด์ โฟแมน (4MAN)...

ไม้ดอกไม้ประดับ

หลวงพี่อุเทน ปราชญ์เกษตรระดับชาติ ผลงานระดับโลก

ปุถุชนธรรมดาถือกำเนิดจากครอบครัวธรรมดาๆ ในอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม พระอุเทน  สิริสาโร ชื่อเดิม อุเทน นโรตมางกูล  หรือที่ญาติโยม เรียก “หลวงพี่อุเทน” จนติดปาก ก่อนมาถึงวันนี้ได้นั้นหลวงพี่อุเทนเป็นคนธรรมดาที่ฐานะทางบ้านยากจน ทำให้การดำเนินชีวิตในวัยเด็กเต็มไปด้วยความลำบาก เมื่อ อายุ 20 ย่าง 21 ปี ผู้เป็นมารดาป่วยหนักด้วยโรคมะเร็งในสมอง ญาติๆ จึงแนะให้บวชที่วัดท่ากระบือ กระทั่งสอบได้นักธรรมชั้นเอก และได้มาอยู่ที่วัดท่าไม้...

พืชพลังงาน

ปุ๋ยโฟแมน (4MAN) ปุ๋ยของคนไทย คุณภาพเต็มแม็กซ์

ต้องยอมรับความจริงว่า ประเทศไทยมีศักยภาพการแข่งขันพืชเศรษฐกิจในตลาดโลกน้อยกว่าหลายประเทศ เหตุเพราะต้นทุนการผลิตพืชสูงขึ้น และ “ผลผลิต” ไม่คุ้มต่อการลงทุน ซึ่ง 1 ในสาเหตุ คือ ความไม่รู้เรื่อง ดินและปุ๋ย ที่ถูกต้องของเกษตรกร ก่อให้เกิดการใช้ปุ๋ยผิด เกิดผลเสียมากมาย ด้วยเหตุนี้ ภาคเอกชน อย่าง บริษัท แม็กซ์นิค จำกัด ได้ผลิตปุ๋ยคุณภาพสูง แบรนด์ โฟแมน (4MAN)...

ข่าวเกษตร

ม.มหิดล เปิดโลกมหัศจรรย์ ศึกษาวิจัยโรคเมตาบอลิกในมนุษย์ ด้วยโมเดลของปลาม้าลาย (Zebrafish model)

“โรคอ้วน” เป็นหนึ่งในโรคเมตาบอลิก (Metabolic Syndrome) ที่เกิดจากระบบการเผาผลาญที่ผิดปกติของร่างกาย เป็นโรคที่ไม่เพียงก่อให้เกิดปัญหาภาวะไขมันพอกตับ แต่ยังทำให้เกิดภาวะเบาหวาน โรคไต โรคหัวใจ และความผิดปกติอื่นๆ ของร่างกายเกิดขึ้นตามมาอีกมากมาย นักวิจัยมหาวิทยาลัยมหิดลจึงได้ศึกษาวิจัยโรคเมตาบอลิกในมนุษย์ ด้วยโมเดลของปลาม้าลาย (Zebrafish model) การวิจัยโรคเมตาบอลิกด้วยโมเดลของปลาม้าลาย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์เฉลิมชัย มิตรพันธ์ อาจารย์แพทย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวในฐานะผู้ศึกษาวิจัยโรคเมตาบอลิกด้วยโมเดลของปลาม้าลายในระดับโมเลกุลว่า โมเดลปลาม้าลายถูกนำมาใช้เป็นโมเดลสัตว์ทดลองอย่างเป็นระบบเพื่อศึกษาการทำงานของระบบประสาท โดย ศ.จอร์จ...

[/et_pb_text][/et_pb_column]
[/et_pb_row]
[/et_pb_section]

error: เนื้อหานี้มีเจ้าของลิขสิทธิ์ กรุณาติดต่อ บจก. มีเดียออฟกรีนกรุ๊ป การละเมิดลิขสิทธิ์มีโทษทางอาญา อาจถูกจำคุกและถูกปรับค่าเสียหาย